ปัจจัย เสี่ยง ต่อ การ เกิด อุบัติเหตุ

คนทำงาน ที่ได้รับอันตรายจากการทำงาน ส่วนใหญ่มักขาดความเอาใจใส่ ในเรื่องของสุขภาพความปลอดภัยทั้งในส่วนตัวคนงานเอง และสถานประกอบการที่ ไม่มีนโยบายเรื่องสุขภาพความปลอดภัย รวมถึงการขาดประสิทธิภาพในการตรวจสอบให้ความรู้ บังคับใช้กฎหมายของหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่ ดังนั้นเราจึงจำเป็นที่จะต้องเข้าใจ และปฏิบัติตามหลักความปลอดภัยโดยเคร่งครัด แล้วเราจะปลอดภัยจากอันตรายหรืออุบัติเหตุต่าง ๆ สาเหตุโดยทั่วไปของอุบัติเหตุ อาจแบ่งได้ดังนี้ 1. ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ มักเกิดกับบุคคลที่เข้าทำงานใหม่ ๆ หรือเข้าทำงานกับเครื่องมือ เครื่องจักรใหม่ โดยที่ ไม่ได้รับคำอธิบายถึงการปฏิบัติและการทำงานของเครื่องมือเครื่องจักรโดยละเอียด จึงมักจะทำให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นบ่อย ๆ การสอนเกี่ยวกับความปลอดภัยยังไม่ดีพอ กฎความปลอดภัยไม่มีผลบังคับใช้ ไม่ได้วางแผนงานความปลอดภัยไว้เป็นส่วนหนึ่งของงาน จุดอันตรายต่าง ๆ ไม่ได้ทำการแก้ไข อุปกรณ์ความปลอดภัยไม่ได้จัดให้ ขาดความรู้หรือไม่ได้ตระหนักในเรื่องความปลอดภัย 2. ความประมาท เกิดจากมีความเชื่อมั่นมากเกินไปเนื่องจากทำงานมานาน การละเลยไม่เอาใจใส่หรือมีทัศนคติผิด ๆในเรื่องความปลอดภัย เครื่องป้องกันอันตรายหรือเครื่องกั้นจัดไว้ให้ แต่ไม่ใช้หรือถอดออก ใช้เครื่องมือเครื่องใช้ไม่ถูกต้องกับลักษณะของงานที่ทำ ถึงแม้ว่าจะมีเครื่องมือที่ถูกต้องให้เลือกใช้ได้เหมาะสมก็ตาม ยกของด้วยวิธีผิด ๆ จนน่าจะเกิดอันตราย อิริยาบทในการเคลื่อนไหวน่าจะเกิดอันตราย เช่น การเดิน การวิ่ง การกระโดด การก้าว การปีนป่าย การหยอกล้อ หรือล้อเล่นในระหว่างการทำงาน 3.

2.ทฤษฎีการเกิดอุบัติเหตุ - อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

7พฤติกรรมเสี่ยง สาเหตุหลักของการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน - Thaihealth.or.th | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

| วันที่ 13 มิถุนายน 2561 | อ่าน: 12, 295 ที่มา: เว็บไซต์แนวหน้า แฟ้มภาพ กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(ปภ. )เตือนกิจกรรมที่ทำให้ผู้ขับขี่ขาดสมาธิในขณะขับรถ เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ โดยเฉพาะการคุยโทรศัพท์มือถือ ใช้โทรศัพท์มือถือ รับประทานอาหาร แต่งหน้า ค้นหาหรือหยิบสิ่งของ ดูโทรทัศน์ พร้อมแนะผู้ขับขี่หลีกเลี่ยงการประกอบกิจกรรม หรือใช้อุปกรณ์ที่ต้องละสายตาจากเส้นทาง เพราะส่งผลต่อประสิทธิภาพในการขับรถ หากเกิดเหตุฉุกเฉิน จะไม่สามารถแก้ไขสถานการณ์ได้ทันท่วงที นา ยชยพล ธิติศักดิ์อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(ปภ. ) กล่าวว่า สมาธิและความพร้อมของผู้ขับขี่นับเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเพิ่มความปลอดภัยในการเดินทาง โดยผู้ขับขี่ควรหลีกเลี่ยงการประกอบกิจกรรมที่ทำให้ขาดสมาธิในขณะขับรถ เพราะส่งผลให้ประสิทธิภาพในการขับรถลดลง การตัดสินใจแก้ไขเหตุฉุกเฉินเฉพาะหน้าช้ากว่าปกติจึงเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เพื่อความปลอดภัย กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(ปภ. )ขอเตือนกิจกรรม ที่ทำให้ขาดสมาธิในการขับรถ ดังนี้ 1.

บทความพิเศษ : ถอดบทเรียนเรือล่มอยุธยา 3ปัจจัยเสี่ยง-6ข้อควรแก้ไข #SootinClaimon.Com | SootinClaimon.Com

สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน

ป้ายจราจรและสัญญาณไฟจราจร คือเครื่องมือที่ช่วยบอกข้อมูลด้านการห้าม การบังคับ การเตือน และการแนะนำที่สำคัญสำหรับผู้ใช้รถใช้ถนน เพื่อช่วยให้การขับขี่มีความปลอดภัยมากขึ้น โดยลักษณะของป้ายจราจรจำเป็นต้องเข้าใจง่าย สังเกตได้ชัดเจนทั้งกลางวันและกลางคืน ตำแหน่งของป้ายมีความเหมาะสมต่อผู้ขับขี่และคนเดินเท้า ที่จะสามารถมองเห็นได้ชัด และต้องมีความชัดเจนไม่ลบเลือนหายไป ตัวอย่างของป้ายจราจร เช่น ป้ายหยุด ป้ายห้ามเลี้ยว เป็นต้น ร่วมเป็นแฟนเพจเฟสบุ๊คกับ TCIJ ออนไลน์ ป้ายคำ

5.2 สาเหตุการเกิดอุบัติภัยในการทำงาน - 2001-1004 Vocational hygiene and safety

รับประทานอาหารแม้จะเป็นขนมขบเคี้ยวก็ทำให้ผู้ขับขี่เสียสมาธิได้ เนื่องจากผู้ขับขี่จะเหลือมือ จับพวงมาลัยเพียงข้างเดียว ประกอบกับความมันของอาหารและมือที่เปื้อนเศษอาหาร ทำให้จับพวงมาลัยไม่ถนัด จึงส่งผลต่อการบังคับทิศทางและประสิทธิภาพในการขับรถ 3. แต่งหน้าสุภาพสตรีมักแต่งหน้าหรือหวีผมในช่วงที่สภาพการจราจรติดขัด หรือรถจอดติดสัญญาณไฟ หากเผลอปล่อยเท้าจากแป้นเบรก จะพุ่งชนรถคันหน้า ก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ค้นหาหรือหยิบสิ่งของผู้ขับขี่ต้องเอื้อมมือ และเอี้ยวตัว รวมถึงละสายตาจากเส้นทาง เพื่อค้นหาหรือหยิบสิ่งของในห้องโดยสาร โดยเฉพาะช่วงที่การจราจรติดขัด หรือรถจอดติดสัญญาณไฟ หากเผลอปล่อยเท้าจากแป้นเบรก อาจพุ่งชนรถคันหน้า ก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ ซึ่งการค้นหาหรือ หยิบสิ่งของในขณะขับรถ ทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเพิ่มขึ้น 0. 5 เท่า 4. ดูโทรทัศน์แสงสว่าง เสียง และภาพที่เคลื่อนไหว จะดึงดูดผู้ขับขี่ให้ละสายตาจากเส้นทาง ถึงแม้ผู้ขับขี่จะไม่ได้ดูโทรทัศน์ แต่การเปลี่ยนช่องปรับเพิ่มหรือลดเสียง จะรบกวนสมาธิในการขับรถของผู้ขับขี่ จึงเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ 5. ฟังเพลงการเปิดเพลงจังหวะเร็วๆอาจรบกวนสมาธิในการขับรถ อีกทั้งการเปิดเพลงเสียงดังยังทำให้ผู้ขับขี่ไม่ได้ยินเสียงจากภายนอกรถ หากเกิดสิ่งผิดปกติกับรถ หรือผู้ขับขี่รถคันอื่นบีบแตรส่งสัญญาณเตือนจะไม่สามารถแก้ไขเหตุฉุกเฉินเฉพาะหน้าได้ทันท่วงที 6.

ไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร ป้ายเตือน ป้ายห้าม ข้อกำหนดต่างๆ บนท้องถนน ล้วนแล้วแต่มีความสำคัญยิ่ง ผู้ขับขี่ทุกคนจึงต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ยกตัวอย่างป้ายห้ามแซง หรือเส้นแบ่งจราจรเส้นทึบห้ามแซง ในขณะขับขี่หากพบไม่ควรแซงเด็ดขาด เพราะเป็นช่วงถนนที่เราไม่สามารถเห็นรถที่สวนมาได้อย่างชัดเจน และเมื่อแซงขึ้นไปแล้วมีรถสวนมาก็จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรงได้ทั้งตัวผู้ขับขี่เอง และผู้ร่วมขับขี่บนท้องถนนคนอื่นด้วย 4. ใช้โทรศัพท์ขณะขับขี่ ในปัจจุบันเราจะสังเกตเห็นได้ว่าผู้ขับขี่หลายๆ คน ยังใช้โทรศัพท์กันในขณะขับขี่ไม่ว่าจะเป็นการคุยโทรศัพท์ หรือแม้กระทั่งเข้าถึงโซเชียลต่างๆ ซึ่งการที่เราละสายตาจากถนนเพียงไม่กี่วินาที อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ ในขณะที่คุณก้มลงดูหน้าจอโทรศัพท์รถคันหน้าอาจจะเบรกกะทันหันทำให้เราเบรกรถไม่ทันได้ หรือแม้แต่การคุยโทรศัพท์แต่สายตายังมองไปบนถนนก็ตาม แต่สมาธิจดจ่ออยู่กับการคุยโทรศัพท์ ก็อาจจะทำให้เราตัดสินใจไม่ทันการเมื่อเกิดเหตุคับขันขึ้น 5. ความไม่พร้อมของรถยนต์ อีกปัจจัยที่มีความสำคัญไม่แพ้กัน หากเมื่อคนพร้อม แต่รถไม่พร้อมแล้วก็อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ ดังนั้นเราควรหมั่นตรวจเช็คสภาพรถให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ สำหรับรถใหม่ก็ควรเข้าตรวจเช็คระยะตามกำหนดให้ครบถ้วน และคอยสังเกตถึงความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้นได้แม้จะเป็นรถใหม่ก็ตาม เพื่อความไม่ประมาท และสำหรับรถที่มีอายุอานามมากแล้ว ก็ควรตรวจเช็คให้ละเอียดยิ่งขึ้น และไม่ควรปล่อยปละละเลยการเปลี่ยนชิ้นส่วน และการบำรุงรักษาตามระยะ ไม่ว่าจะเป็น การเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง ระบบเบรก น้ำมันหล่อลื่นต่างๆ สายพาน เป็นต้น ติดตามข่าวสารยานยนต์ รวดเร็วก่อนใคร ได้ที่

จำนวนช่องจราจร คือจำนวนช่องทางเดินรถ ที่จัดแบ่งสำหรับการเดินรถโดยทำสัญลักษณ์ด้วยการตีเส้นแบ่งช่องจราจรและเครื่องหมายบนผิวทาง เช่น ลูกศร เป็นต้น โดยที่อุบัติเหตุจราจรบนทางหลวงแผ่นดินและทางหลวงจังหวัดมักเกิดบนทางตรงมากที่สุด โดยเฉพาะสภาพเส้นทางที่ดีเรียบ มักทำให้ผู้ขับขี่ขาดความระมัดระวังและขับรถด้วยความเร็วสูงและถนนที่มี 2 ช่องทางจะเกิดอุบัติเหตุมากกว่าถนนที่มี 4 ช่องทาง 8. อุปกรณ์กั้นข้างทาง คืออุปกรณ์ที่ติดตั้งเพื่อป้องกันมิให้รถที่เกิดอุบัติเหตุวิ่งออกนอกถนน โดยทั่วไปจะติดตั้งไว้บริเวณที่เป็นจุดเสี่ยงอันตราย เช่น บริเวณทางโค้งสะพานและจุดที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุอื่น ๆ ตัวอย่างของอุปกรณ์กั้นข้างทางเพื่อความปลอดภัย เช่น ราวกันชนตก (Guard Rail) เป็นต้น 9. เครื่องหมายจราจร คือเครื่องมือบอกข้อมูลด้านการห้าม การเตือน และการแนะนำที่สำคัญสำหรับผู้ใช้รถใช้ถนนเพื่อช่วยให้การขับขี่มีความปลอดภัยมากขึ้น โดยลักษณะของเครื่องหมายจราจรจาเป็นต้องเข้าใจง่าย สังเกตได้ชัดทั้งกลางวันและกลางคืน ตำแหน่งของเครื่องหมายมีความเหมาะสมต่อผู้ขับขี่และคนเดินเท้า ที่จะสามารถมองเห็นได้ชัด ต้องมีความชัดเจนไม่ลบเลือนหายไป ตัวอย่างของเครื่องหมายจราจร เช่น ทางม้าลาย เส้นแบ่งช่องจราจร เส้นแบ่งทิศทางการเดินรถลูกศรและข้อความเตือนต่าง ๆ เป็นต้น 10.

  • 5 ปัจจัยเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุ
  • 5.2 สาเหตุการเกิดอุบัติภัยในการทำงาน - 2001-1004 Vocational hygiene and safety
  • ทำไมจึงเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน?
  • ทีวี sharp 50 นิ้ว 4k ราคา
  • การ ใช้ go do play now
  • Earn Baht พูดคุยเรื่องสารพัด - ช่องทางการหารายได้เสริม ช่องทางทำเงิน หารายได้เสริม
  • พับ หน้า จอ โน๊ ต บุ๊ค ไม่ ดับ windows 10
  • ปลา กระ โท ง แทง ดาบ

1. ทฤษฏีโดมีโน (Domino Theory) เฮอร์เบิร์ต ดับเบิ้ลยู ไฮริคส์ ปลายคศ 1920 ศึกษารายงานการเกิดอุบัติเหตุพบว่าร้อยละ88 เกิดจากการการกระทำที่ไม่ปลอดภัย ร้อยละ10 เกิดจากสภาพแวดล้อม ร้อยละ2 เกิดจากธรรมชาติเหนือการควบคุม เช่น พายุ น้ำท่วม แผ่นดินไหว ไฮน์ริคส์ขันตอนการเกิดอุบัติเหตุออกเป็น 5 ลำดับดังนี้ 1. ภูมิหลังของบุคคลและสภาพแวดล้อมทางสังคม เช่น ขาดการคิดไตร่ตรอง ประมาท ชอบเสี่ยงอันตราย 2. ความบกพร่องของบุคคล เช่น ละเลยต่อการกระทำที่ปลอดภัย ตื่นเต้นง่าย ควบคุมอารมณ์ไม่ได้ ขาดความรอบคอบ 3. การกระทำที่ไม่ปลอดภัย และ/หรือ สภาพเครื่องจักรหรือสภาพแวดล้อมที่เป็นอันตราย 4. การเกิดอุบัตติเหตุ (Accident) มีสาเหตุมาจากปัจจัยทั้ง 3 ปัจจัยข้างต้น 5. การบาดเจ็บ (Injury) เหมือนเอาโดมิโนมาเรียงกัน ถ้าล้มโดมิโนตัวแรกสุดจะทำให้ตัวหลังล้มคืออุบัติเหตุเกิดขึ้น แต่ถ้าเราเอาโดมิโนตัวกลางการกระทำที่ไม่ปลอดภัยออกก็จะไม่มีอุบัติเหตุเกิด ขึ้น มีปัญหากับการนำไปใช้จริง แต่เป็นพื้นฐานของทฤษฏีอื่น ๆ 2. ทฤษฏีปัจจัยมนุษย์ (The Human Factor Theory) การเกิดอุบัติเหตุมาจากความผิดพลาดของมนุษย์ ซึ่งปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุมี 3 ปัจจัย 1.