พระ ธรรม วินัย ภาษา อังกฤษ

  1. แปลพระไตรปิฎกเป็นอังกฤษ มีข้อพิจารณาที่น่าห่วงใย | เดลินิวส์
  2. ธรรมวินัย แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า พจนานุกรม Longdo Dictionary แปลภาษา คำศัพท์

298 dyad ทุกะ (หมวดสอง). ตัวอักษร E 299 ear โสตะ. 300 earnestness อัปปมาทะ, อาตาปะ (ความเพียร).

แปลพระไตรปิฎกเป็นอังกฤษ มีข้อพิจารณาที่น่าห่วงใย | เดลินิวส์

  1. ความสำคัญและคุณค่าของพระไตรปิฎก - Social Study..
  2. รถ ตู้ ไป คํา ชะ โน ด
  3. Dangerous Lies ลวง คร่า ฆาต (2020) | Movie007hd
  4. พระสนทนาหรือแสดงธรรมกับบุคคลอื่นแล้วเคี้ยวหมากไปเป็นอาบัติหรือไม่

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงรับเอาวินัยวงศ์ คือ ธรรมเนียมประพฤติปฏิบัติทางพระวินัยแบบรามัญมาเป็นข้อปฏิบัติเป็นครั้งแรก เมื่อ จ. 1187 ตรงกับ พ. 2368 อันเป็นปีที่ 2 แห่งการผนวชของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงรับเอาวินัยวงศ์แบบรามัญนิกายมาเป็นแบบปฏิบัตินั้น เป็นการเริ่มต้นแก้ไขการประพฤติปฏิบัติพระธรรมวินัยของพระองค์ ซึ่งยังผลให้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามจนเกิดเป็นพระสงฆ์คณะหนึ่งในเวลาต่อมา 2. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ซึ่งเป็นพระเถรชั้นเดิมแห่งคณะธรรมยุต พระองค์หนึ่ง ทรงแสดงพระมติ "อันที่จริงคณะธรรมยุตค่อยเป็นมาโดยลำดับ ปีที่ออกหน้า ควรจะกำหนดว่าเป็นปีที่ตั้งนั้น คือ จ. 1191" ปี จ. 1191 ตรงกับ พ.

ธรรมวินัย แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า พจนานุกรม Longdo Dictionary แปลภาษา คำศัพท์

2557 สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ สำรวจมีพระภิกษุธรรมยุติกนิกาย ประมาณ 33, 187 รูป สามเณร 6, 804 รูป คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกายได้ชื่อว่า เป็นคณะสงฆ์ที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัย สันโดษ เรียบง่าย ส่วนสำคัญเนื่องด้วยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ล้นเกล้าราชกาลที่ 4 ทรงวางระเบียบแบบแผนแนวทางวัตรปฎิบัติเอาไว้ตั้งแต่เมื่อครั้งพระองค์ยังทรงผนวชอยู่นั่นเอง.. ขอบคุณภาพ.. เฟชบุ๊ควัดบวรนิเวศวิหาร /วัดราชาธิวาส

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น พระวินัยปิฎก มหาวรรค เล่ม ๕ ภาค ๒ - หน้าที่ ๑๖๑ พระพุทธานุญาตมหาปเทส ๔ [๙๒] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายเกิดความรังเกียจในพระบัญญัติบางสิ่งบางอย่างว่า สิ่งใดหนอ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตไว้ สิ่งใดไม่ได้ทรงอนุญาต จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระมีพระภาคเจ้า พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสประทานสำหรับอ้าง ๔ ข้อ ดังต่อไปนี้ ๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งใดที่เราไม่ได้ห้ามไว้ว่า สิ่งนี้ไม่ควร หากสิ่งนั้นเข้ากับสิ่งที่ไม่ควร ขัดกับสิ่งที่ควร สิ่งนั้นไม่ควรแก่เธอทั้งหลาย ๒. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งใดที่เราไม่ได้ห้ามไว้ว่า สิ่งนี้ไม่ควร หากสิ่งนั้นเข้ากับสิ่งที่ควร ขัดกับสิ่งที่ไม่ควร สิ่งนั้นควรแก่เธอทั้งหลาย ๓. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งใดที่เราไม่ได้อนุญาตไว้ว่า สิ่งนี้ควรหากสิ่งนั้นเข้ากับสิ่งที่ไม่ควร ขัดกับสิ่งที่ควร สิ่งนั้นไม่ควรแก่เธอทั้งหลาย ๔.