นายจ้าง ไม่ จ่าย ค่า ชดเชย

ค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ปัญหาเรื่องการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม หมายถึง การเลิกจ้างโดยไม่มีเหตุผลที่สมควร ไม่ใช่ความจำเป็นของกิจการ เช่น การเลิกจ้างเพราะเกิดจากความรู้สึกไม่พอใจกันในเรื่องส่วนตัวระหว่างลูกจ้างกับนายจ้าง หรือการจงใจกลั่นแกล้งกันให้เดือดร้อน หรือการให้ลูกจ้างออกเนื่องจากเข้าเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน หรือเป็นกรรมการสหภาพแรงงานซึ่งเรียกร้องค่าจ้างหรือสวัสดิการเพิ่มเติม เรื่องการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมไม่ได้เขียนอยู่ใน พ. คุ้มครองแรงงาน โดยตรง แต่เป็นหลักในการวิธีการพิจารณาคดีเมื่อคดีขึ้นสู่ศาลแรงงาน ตาม พ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ. 2522 มาตรา 49 ที่กำหนดว่า กรณีที่นายจ้างเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ให้ศาลสั่งให้รับลูกจ้างกลับเข้าทำงานต่อไปในอัตราค่าจ้างเดิม แต่ถ้าหากศาลเห็นว่า ทั้งสองฝ่ายไม่อาจทำงานร่วมกันต่อไปได้ ก็ให้สั่งให้นายจ้างจ่ายค่าเสียหายแทนการรับกลับเข้าทำงาน สำหรับกรณีกิจการที่ต้องปรับตัวขนานใหญ่หรือได้รับผลกระทบอย่างหนักจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 จนต้องลดต้นทุน หรือปรับโครงสร้าง และต้องเลิกจ้างลูกจ้างจำนวนหนึ่ง อาจจะไม่ใช่กรณีการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ถ้าไล่ออกเพราะลูกจ้างทำผิด ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย พ.

คาราโอเกะ

บริษัทจ่ายค่าชดเชยเป็นงวด ๆ ได้หรือไม่? Post on 29 มิถุนายน 2564 by Area3 ฮิต: 1956 บริษัทจ่ายค่าชดเชยเป็นงวด ๆ ได้หรือไม่? คำตอบคือมีทั้งผ่อนได้ และผ่อนไม่ได้ 1.

ล่าสุด

  • นายจ้าง ไม่ จ่าย ค่า ชดเชย ป
  • ถูกไล่ออก เพราะโควิด-19 ลูกจ้างยังมีสิทธิ ต้องได้รับค่าชดเชย | iLaw.or.th
  • นายจ้าง ไม่ จ่าย ค่า ชดเชย ล่าสุด
  • ตาราง ดร อป ของ ragnarok m.d
  • กฎหมายน่ารู้ ตอนที่ 289: “ถูกให้ออกจากงาน ลูกจ้างต้องได้รับค่าชดเชย”
  1. เซนเซอร์ วัด รอบ tfr ราคา
  2. ตู้ เย็น โบราณ ไม่ ใช้ ไฟฟ้า